บทความ

มาตรฐานทางจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ

รูปภาพ
มาตรฐานทางจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ ----------- มาตรฐานทางจริยธรรมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับพุทธศักราช ๒๕๔๐ – ฉบับพุทธศักราช ๒๕๖๐) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย ที่ได้มีการบัญญัติเรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมไว้ ในฐานะที่เป็นเรื่องสำคัญ โดยมาตรา ๗๗ กำหนดให้ “รัฐต้องจัดให้มีแผนพัฒนาการเมือง จัดทำ มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของผู้ดำรงตำแหน่งทาง การเมือง ข้าราชการ และพนักงานหรือลูกจ้างอื่นของรัฐ เพื่อป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ และเสริมสร้าง ประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่” คณะรัฐมนตรีในการประชุม เมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๔๒ มีมติเห็นชอบแผนการ ดาวน์โหลด App สอบ ก.พ. สำหรับ Android ฟรี ที่ Play Store ตามหลักสูตร ก.พ. ใหม่ มีแนวข้อสอบ มากกว่า 1,000 ข้อ มีเฉลยอย่างละเอียด มีคำอธิบายทุกข้อ มีสรุปและเทคนิคการทำข้อสอบ มีชุดข้อสอบให้ลองทำ พร้อมจับเวลา คลิกปุ่มข้างล่าง เพื่อไปดาวน์โหลด ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยม ในการบริหารภาครัฐ โดยกำหนดให้รัฐจัดทำ “ค่านิยมสร้างสรรค์สำหรับเจ้าหน้าที่ ของรัฐ” แล

พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙

พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ กำหนดให้หน่วยงานของรัฐ จะต้องรับผลของการละเมิดจากการปฏิบัติงานตามหน้าที่ของ ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง จะฟ้องร้อง เรียกค่าเสียหายจากข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง ไม่ได้ ต้องฟ้องหน่วยงานของรัฐ เว้นแต่การกระทำของข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง เป็นการจงใจกระทำ เพื่อการเฉพาะตัว หรือจงใจให้เกิดความเสียหาย หรือประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง เท่านั้น พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ----------- ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ เป็นปีที่ ๕๑ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกถ้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่สมควรมีกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกถ้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (ลงประกาศ ราชกิจจานุเบก

พระราชบัญญ้ติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๗ และ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๖๒)

เพื่อเป็นการเตรียมตัวสอบ ก.พ. ภาค ก. ในเรื่องการเป็นข้าราชการที่ดี จึงได้นำเอา พระราชบัญญ้ติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๗ และ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๖๒) มาลงไว้ อีกทั้งยังเป็นเรื่อง ที่ประชาชนทั่วไป ควรรู้ เพราะเป็นเรื่องใกล้ตัวของทุกคน พระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ (ลงประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๓/ตอนที่ ๖๐ ก/หน้า ๑/๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๙) ----------- ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ เป็นปีที่ ๕๑ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่สมควรมีกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่ วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายต่าง ๆ

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป็นเรื่องสำคัญที่ข้าราชการทุกคนต้องรู้ ก.พ. จึงได้กำหนดไว้เป็นส่วนหนึ่งในการสอบ ภาค ก. จึงได้นำเอา พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ทั้งฉบับมาลงไว้ เพื่อให้สามารถศึกษา เตรียมตัวสอบ ก.พ. ภาค ก. และนอกจากนี้ ยังเป็นประโยชน์โดยตรงกับข้าราชการอีกด้วย พระราชกฤษฎีกานี้ ลงในประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๐ ตอนที่ ๑๐๐ ก ๙ ตุลาคม ๒๕๔๖ พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ใว้ ณ วันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นปีที่ ๕๘ ในรัชกาลปัจจุกัน ------------ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลกเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๒๑ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ประกอบกับ มาตรา ๓/๑ และมาตรา ๗๑/๑๐ (๕) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ จึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระร