บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก เมษายน, 2018

คำทับศัพท์ยุค ดิจิทัล ที่มักเขียนผิด

รูปภาพ
ในข้อสอบ วิชาภาษาไทย ก.พ. มักจะมีข้อสอบเกี่ยวกับการเขียนตัวสะกด ซึ่งอาจจะออกมาในรูปการเติมคำ หรือให้คำหลาย ๆ คำแล้วให้หาว่า ข้่อใดเขียนถูกหมด เป็นต้น โดยเฉพาะคำศัพท์ใหม่ ๆ หรือคำทับศัพท์ใหม่ ๆ ในยุคดิจิทัล มักจะมีออกข้อสอบอยู่เสมอ หลักการเขียนทับศัพท์ภาษาอังกฤษ ที่ควรทราบ การทับศัพท์ ให้ถอดอักษรในภาษาเดิม พอควรแก่การแสดงที่มาของรูปศัพท์ และให้เขียนในรูปที่อ่านได้สะดวกในภาษาไทย เช่น graphic = กราฟิก (ไม่ใช่ กราฟิค) ดาวน์โหลด App สอบ ก.พ. สำหรับ Android ฟรี ที่ Play Store ตามหลักสูตร ก.พ. ใหม่ มีแนวข้อสอบ มากกว่า 1,000 ข้อ มีเฉลยอย่างละเอียด มีคำอธิบายทุกข้อ มีสรุปและเทคนิคการทำข้อสอบ มีชุดข้อสอบให้ลองทำ พร้อมจับเวลา ดาวน์โหลด ที่ Play Store คลิกที่นี่ คำทับศัพท์ที่ใช้กันมานานจนถือเป็นภาษาไทย และปรากฏในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานแล้ว ให้ใช้ต่อไปตามเดิม เช่น ช็อกโกเลต, ช็อกโกแลต, เชิ้ต, ก๊าซ, แก๊ส การเขียนคําทับศัพท์ไม่ต้องใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ ยกเว้นในกรณีที่ คํานั้นมีเสียงซ้ำกับคําไทย จนทําให้เกิดความสับสน อาจใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ได้ เช่น c

การแก้ปัญหา Font หลังหัวข้อ ไม่ตรงกับ Font ในย่อหน้า

รูปภาพ
ปัญหา เมื่อเลือกหัวข้อ ข้อความในหัวข้อ ไม่เหมือนกับข้อความใน Paragraph สาเหตุ               เนื่องจากข้อความหลังจากหัวข้อ มี Style ของตัวเอง ไม่เหมือนกับ Style ที่ใช้ใน Paragraph จึงทำให้รูปแบบตัวอักษรไม่เหมือนกัน ถ้าลากดำที่ข้อความหลังหัวข้อ แล้วไปคลิกเลือก Style ที่ใช้ใน paragrahp เลย เช่น Normal จะทำให้หัวข้อหายไปทันที ทั้งนี้เพราะ ข้อความหลังหัวข้อ เขาใช้ Style ที่เรียกว่า List Paragraph ซึ่งเป็นคนละ Style กับข้อความใน paragraph ดังนั้น จึงต้องไปแก้ที่ List Paragraph