แนะนำ แอปเตรียมสอบ กพ ภาษาอังกฤษ รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ - กันยายน 27, 2562 แอปเตรียมสอบ กพ ภาค ก. วิชาภาษาอังกฤษ มีแนวข้อสอบ วิชาภาษาอังกฤษ มากกว่า 500 ข้อ เนื้อหา แบ่งออกเป็น บทสนทนา ไวยากรณ์ การสื่อสาร พร้อมเฉลย และอธิบายละเอียด ทุกข้อ มีสรุปเนื้อหาที่สำคัญ ดาวน์โหลด ได้ที่ Google Play รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ ความคิดเห็น
อุปมา อุปไมย สำนวนการเปรียบเทียบ ของไทย - ธันวาคม 25, 2559 การเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. เพื่อสอบบรรจุเข้ารับราชการ มีการทดสอบความสามารถทั่วไป มักจะมี ข้อสอบที่เกี่ยวกับอุปมาอุปไมย ข้อสอบมีลักษณะ ให้หาตัวเลือกที่มีความหมาย ความสัมพันธ์คล้ายคลึง หรือเหมือนกับที่โจทย์กำหนดให้มา หรือเติมข้อความที่มีความหมายสอดคล้องกับคำอุปมาอุปไมยที่ยกมาให้ เป็นต้น ดังนั้น การเข้าใจความหมายของคำอุปมาอุปไมย จึงช่วยให้ทำข้อสอบได้ดียิ่งขึ้น คำอุปมาอุปไมย หมายถึง ถ้อยคำที่เป็นสำนวนพวกหนึ่ง กล่าวทำนองเปรียบเทียบ ให้เห็นจริง เข้าใจแจ่มแจ้งชัดเจน และสละสลวยน่าฟังมากขึ้น การพูดหรือการเขียน นิยมหาคำอุปมาอุปไมยมาเติมให้ได้ความชัดเจนเกิดภาพพจน์ เข้าใจง่าย เช่น คนดุ หากต้องการให้ความหมายชัดเจน น่าฟัง และเกิดภาพพจน์ชัดเจนก็ต้องอุปมาอุปไมยว่า “ดุ เหมือน เสือ” ขรุขระมาก การสื่อความยังไม่ชัดเจนไม่เห็นภาพ ต้องอุปมาอุปไมยว่า “ขรุขระเหมือนผิวมะกรูด” หรือ “ขรุขระเหมือนผิวพระจันทร์” ก็จะทำให้เข้าใจ ความหมายในรูปธรรมชัดเจนมากยิ่งขึ้น ดาวน์โหลด App สอบ ก.พ. สำหรับ Android ฟรี ที่ Play Store ตามหลักสูตร ก.พ. ใหม่ มีแนวข้อสอบ มากกว่า 1,000 ข้อ มีเฉลยอย่างละเอี... อ่านเพิ่มเติม
คำทับศัพท์ยุค ดิจิทัล ที่มักเขียนผิด - เมษายน 20, 2561 ในข้อสอบ วิชาภาษาไทย ก.พ. มักจะมีข้อสอบเกี่ยวกับการเขียนตัวสะกด ซึ่งอาจจะออกมาในรูปการเติมคำ หรือให้คำหลาย ๆ คำแล้วให้หาว่า ข้่อใดเขียนถูกหมด เป็นต้น โดยเฉพาะคำศัพท์ใหม่ ๆ หรือคำทับศัพท์ใหม่ ๆ ในยุคดิจิทัล มักจะมีออกข้อสอบอยู่เสมอ หลักการเขียนทับศัพท์ภาษาอังกฤษ ที่ควรทราบ การทับศัพท์ ให้ถอดอักษรในภาษาเดิม พอควรแก่การแสดงที่มาของรูปศัพท์ และให้เขียนในรูปที่อ่านได้สะดวกในภาษาไทย เช่น graphic = กราฟิก (ไม่ใช่ กราฟิค) ดาวน์โหลด App สอบ ก.พ. สำหรับ Android ฟรี ที่ Play Store ตามหลักสูตร ก.พ. ใหม่ มีแนวข้อสอบ มากกว่า 1,000 ข้อ มีเฉลยอย่างละเอียด มีคำอธิบายทุกข้อ มีสรุปและเทคนิคการทำข้อสอบ มีชุดข้อสอบให้ลองทำ พร้อมจับเวลา ดาวน์โหลด ที่ Play Store คลิกที่นี่ คำทับศัพท์ที่ใช้กันมานานจนถือเป็นภาษาไทย และปรากฏในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานแล้ว ให้ใช้ต่อไปตามเดิม เช่น ช็อกโกเลต, ช็อกโกแลต, เชิ้ต, ก๊าซ, แก๊ส การเขียนคําทับศัพท์ไม่ต้องใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ ยกเว้นในกรณีที่ คํานั้นมีเสียงซ้ำกับคําไทย จนทําให้เกิดความสับสน อาจใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ได้ เช่น c... อ่านเพิ่มเติม
การใช้ "การ" หรือ "ความ" นำหน้าคำในภาษาไทย ข้อสอบ ก.พ. - กันยายน 24, 2560 การใช้ การ หรือ ความ นำหน้าคำในภาษาไทย คำที่มี “การ” หรือ “ความ” นำหน้า เป็นคำนามที่ใช้บอกอาการกระทำ หรือที่เรียกว่า อาการนาม มีหลักในการใช้ ดังนี้ การใช้ “การ” การสามารถใช้นำหน้าคำนาม หรือคำกริยา ได้ - นำหน้าคำนาม จะหมายความว่า เรื่อง , ธุระ , หน้าที่ เช่น การบ้าน การครัว การคลัง การเมือง การไฟฟ้า การประปา เป็นต้น อ่านเพิ่มเติม
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น